The Pano ระยอง

reptilesu.com

สินสมรส มี อะไร บ้าง

เมื่อมีการร้องขอต่อศาลให้แยกสินสมรสเพราะสาเหตุ เช่น อีกฝ่ายทำความเสียหายแก่สินสมรส ไม่อุปการะ เลี้ยงดู เป็นหนี้สินมากมาย หรือขัดขวางการจัดการสินสมรสโดยไม่มีเหตุอันควรและเมื่อมีการแยกสินสมรส ออกจากกันแล้ว สินสมรสส่วนที่แยกออกมาจะถือเป็นสินส่วนตัวของแต่ละฝ่าย รวมถึงทรัพย์สิน เช่น มรดก ดอกผลที่ได้มาหลังการแยกสินสมรสด้วย เรียบเรียงโดย นายกิตติคุณ นุมานิต 30

สินสมรสมีอะไรบ้าง - FinanceForMom

ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว – ดอกผลของสินส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นดอกผลธรรมดาหรือดอกผลนิตินัย ถือเป็นสินสมรส ศัพท์กฎหมาย ในระหว่างสมรส: นับตั้งแต่เวลาที่มีการจดทะเบียนสมรสกัน จนกว่าจะมีการเพิกถอนการจดทะเบียนหรือจดทะเบียนหย่าร้าง ดอกผลธรรมดา: สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ หรือที่ได้มาจากตัวทรัพย์ เช่น ลูกวัวเป็นดอกผลธรรมดาของแม่วัว ดอกผลนิตินัย: ทรัพย์หรือประโยชน์ที่เจ้าของทรัพย์ได้มาจากคนอื่นเนื่องจากการใช้ทรัพย์นั้น เช่น ดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าเช่าบ้าน ที่มา: ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 1471, 1472, 1473, 1474, 1476

  • คำ สอน คน
  • คีรีธารา ร้านอาหารริมน้ำแคว ใกล้สะพานทางรถไฟข้ามแม่น้ำแคว เทียวเมืองกาญจน์ต้องลอง /K thai channel | ร้าน อาหาร แถว สะพาน ข้าม แม่ น้ํา แควข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
  • กาแฟ เซ เว่ น ไม่ อ้วน
  • ราคา สวี ฟ มือ สอง เจ้าของขายเอง
  • Windshell naradhiwas รีวิว
  • Quadro k2000 ราคา
  • จะ ดูทีวีออนไลน์ ต้องทางนี้เลย: ประไพธรรมชาติ! เเพทย์ฝืนดาราสาว “แองเจล่าเบบี้“ รจิตขึ้นไม่พึ่งศัลยกรรม!
  • เครื่องสำอาง MAC NARS bobbi brown ยี่ห้อไหนถูกที่สุดหรอ | Dek-D.com
  • สีมงคล หมอช้าง 2563 doc
  • Joby gorillapod hybrid ราคา 2564
  • เคล็ดลับ บูชา แม่ธรณี เบิกที่ทาง ค้าขายร่ำรวย ด้วยตนเอง โดย อ.บอน พรประการแรก ยิปซีพยากรณ์ | ดวง Live | LINE TODAY

สินส่วนตัว ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยานอกจากที่ได้แยกไว้เป็นสินส่วนตัว ที่ไม่ได้แยกเป็นสินสมรส ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาตามกฎหมายปัจจุบันมีอยู่ 2 ประเภทเท่านั้น คือสินส่วนตัวและสินสมรส ฉะนั้น จึงต้องศึกษาว่าทรัพย์สินอย่างใดเป็นสินส่วนตัวและอย่างใดเป็นสินสมรส เพราะการจัดการทรัพย์สินสองประเภทแตกต่างกัน กฎหมายได้วางหลักไว้ว่า "สินส่วนตัวได้แก่ทรัพย์สิน" 1.

สินสมรส VS สินส่วนตัว : รู้ไว้...ก่อน "แต่งงาน" - สำนักงานกิจการยุติธรรม

ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส ทรัพย์สินใดๆก็ตามที่ได้มาในระหว่างสมรสนอกเหนือไปจากที่ถูกกำหนดไว้เป็นสินส่วนตัวแล้วย่อมเป็นสินสมรสทั้งสิ้น เช่น เงินเดือน เงินหรือทรัพย์อื่นที่ได้มาในระหว่างสมรส, ภริยาทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินในระหว่างที่ยังอยู่ร่วมกัน เมื่อหย่ากันสิทธิตามสัญญาเป็นสินสมรส หรือสามีทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ขณะที่เป็นสามีภริยากัน สิทธิตามสัญญาเช่าซื้อเป็นสินสมรส เพราะย่อมเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรส, เงินบำนาญหรือสิทธิในการรับบำนาญได้มาในระหว่างสมรสแม้จะรับราชการอยู่ก่อนสมรสก็ตาม เป็นสินสมรส เป็นต้น 2. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการให้เป็นหนังสือ เมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่าเป็นสินสมรส คือในระหว่างสมรสหากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ทรัพย์สินมาและทรัพย์สินนั้นจะเป็นสินสมรสต้องเป็นการได้มาโดย 2. 1 พินัยกรรม หมายความว่า พินัยกรรมต้องเป็นหนังสือและระบุว่าเป็นสินสมรสไม่ใช่การเป็นทายาทโดยธรรม 2. 2 การให้เป็นหนังสือ และหนังสือนั้นระบุว่าเป็นสินสมรส หากพินัยกรรมหรือการยกให้เป็นหนังสือมิได้ระบุให้เป็นสินสมรส หรือเป็นการให้ด้วยวาจา ทรัพย์สินนั้นจะกลายเป็นสินส่วนตัว 3.

สินส่วนตัว: เป็นกรรมสิทธิ์ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง จัดการเองได้เลย 1. ทรัพย์สินที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนจะสมรส – ต้องมีกรรมสิทธิ์ก่อนการสมรสจึงจะเป็นสินส่วนตัว 2. ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งตัว หรือเครื่องประดับตามฐานะ เช่น สร้อยคอ นาฬิกา ผ้าเช็ดตัว เสื้อผ้า ฟันปลอม ฯลฯ หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ เช่น จอบ เสียม เครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบอาชีพ ฯลฯ 3. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาในระหว่างสมรส* โดยการรับมรดก (ไม่ว่าจะรับมรดกตามกฎหมายหรือตามพินัยกรรม) หรือการให้โดยเสน่หา 4. ของหมั้น – เป็นสินส่วนตัวของภรรยาเท่านั้น 5. ของแทนสินส่วนตัว – ทรัพย์หรือเงินที่ได้มาจาการเอาสินส่วนตัวไปแลกหรือขาย สินสมรส: สามี-ภรรยา ต้องจัดการสินสมรสร่วมกัน หรือได้รับความยินยอมจากอีกฝ่าย 1. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาในระหว่างสมรส* – ทรัพย์สินทั้งหมดที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำมาหาได้ โดยไม่ต้องคำนึงว่าอีกฝ่ายจะมีส่วนร่วมในการทำมาหาได้หรือไม่ เช่น เงินเดือน เงินบำนาญ ค่าชดเชยต่างๆ ฯลฯ 2. ทรัพย์สินที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาในระหว่างสมรส* โดยพินัยกรรม หรือการให้เป็นหนังสือ ซึ่งพินัยกรรมหรือหนังสือให้ได้ระบุว่าทรัพย์สินนั้นเป็นสินสมรส 3.

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ❯ มาตรา 1474 มาตรา 1474 สินสมรสได้แก่ทรัพย์สิน (1) ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส (2) ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการให้เป็นหนังสือเมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่าเป็นสินสมรส (3) ที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว ถ้ากรณีเป็นที่สงสัยว่าทรัพย์สินอย่างหนึ่งเป็นสินสมรสหรือมิใช่ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นสินสมรส สินสมรส แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. ทรัพย์ที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส เช่น เงินเดือน โบนัส 2. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาโดยพินัยกรรม โดยระบุว่าให้เป็นสินสมรส 3. ทรัพย์สินที่เป็นกำไรสุทธิ หรือดอกผลของสินส่วนตัว สิทธิการจัดการทรัพย์สิน กฎหมายถือให้ผู้เป็นเจ้าของมีอำนาจจัดการทรัพย์สินส่วนตัวได้โดยลำพัง สำหรับสินสมรส ถือเป็นทรัพย์สินร่วมกันคนละครึ่ง จึงให้สองฝ่ายจัดการร่วมกัน สามีภรรยาสามารถแยกกันจัดการสินสมรสได้ 4 กรณี คือ 1. เมื่อคู่สมรสตกลงแยกกันจัดการสินสมรสโดยการทำสัญญาก่อนสมรสไว้ก่อน 2. เมื่อคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกเป็นคนไร้ความสามารถ อีกฝ่ายมีสิทธิร้องขอให้ศาลแยกสินสมรสได้ 3. เมื่อคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย จะมีผลให้สินสมรสแยกกันตามกฎหมาย 4.

สินสมรสคืออะไร ? ครอบคลุมถึงอะไรบ้างนะ ? - Rabbit Care

ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 นี้มิได้กำหนดไว้เป็นพิเศษว่าอะไรคือดอกผล เพราะฉะนั้น ต้องถือหลักทั่วไปซึ่งกฎหมายกำหนดไว้ว่า ดอกผลนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ 3. 1 ดอกผลธรรมดา กล่าวคือ บรรดาสิ่งทั้งปวงซึ่งได้มาเพราะการใช้ของนั้นอันเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ดังเช่น ผลไม้ น้ำนม ขนและลูกของสัตว์ เหล่านี้ย่อมสามารถจะถือเอาได้เมื่อขาด จากสิ่งนั้นๆ 3.

หลายคนน่าจะแยกความแตกต่างระหว่างสินสมรส และสินส่วนตัว กันออกแล้ว แต่ก็ยังคาใจอยู่ดี ว่า ประกันชีวิตที่เราทำเอาไว้ แบบนี้ ถ้าเราเสียชีวิตจริง ทรัพย์สินจากเงินประกันชีวิตจะตกเป็นของใครกันนะ จะยังนับเป็นสินสมรสรึเปล่า? จริงอยู่ที่การทำประกันชีวิต หลายคนอาจจะทำไว้ระหว่างการสมรส แต่ตามกฎหมายแล้ว ได้กำหนดไว้ว่า เมื่อคู่สมรสเสียชีวิต จะนับว่าสิ้นสุดสถานะภาพการสมรสทันที ตาม ป. พ. มาตรา 1501 และเมื่อผู้ทำประกันชีวิตเสียชีวิตลง เงินที่ได้หลังจากสถานะการสมรสสิ้นสุด จึงนับว่าเป้นสินส่วนตัว ไม่ใช่สินสมรส และเงินที่ได้จากการการทำประกันนั้น หากมีการระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์ชัดเจน จะส่งมอบให้กับรายชื่อผู้รับผลประโยชน์ นับได้ว่าเป็นการให้โดยเสน่ห์หา และเป็นการทำสัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก แต่ถ้าเงินจากประกันนั้น ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์ไว้ชัดเจน เงินประกันชีวิตจะถูกนับแบ่งให้แก่ทายาทของผู้ตายในฐานะมรดกตาม ป. มาตรา 1629(1), 1630 วรรคสอง และมาตรา 1635(1) เช่น นาย ก. กับ นาง ข. เป็นสามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย แต่ปัจจุบันได้แยกกันอยู่ โดยยังไม่ได้เซ็นเอกสารหย่าร้างกันให้ชัดเจน และเมื่อ นาย ก.

Wed, 13 Jul 2022 19:20:11 +0000